หนังสือหายาก

พระบฏ
พระบฏ

 

กรมศิลปากรจัดพิมพ์

เนื่องในพิธีเปิดนิทรรศการพิเศษวันอนุรักษ์มรดกไทย พุทธศักราช 2545

เรื่อง "พระบฏ"

ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป

วันที่ 19 เมษายน 2545

ศิลปากร ปีที่ ๒ เล่ม ๒ กรกฏาคม พ.ศ.๒๔๘๑
ศิลปากร ปีที่ ๒  เล่ม ๒  กรกฏาคม พ.ศ.๒๔๘๑
ศิลปากร ปีที่ ๑๕ เล่ม ๒ กรกฏาคม พ.ศ.๒๕๑๔
ศิลปากร ปีที่ ๑๕ เล่ม ๒ กรกฏาคม พ.ศ.๒๕๑๔

นิตยสารรายสองเดือนของกรมศิลปากร

ปีที่ ๑๕  เล่ม ๒  กรกฏาคม พ.ศ.๒๕๑๔

พิพิธภัณฑสถานเมืองตราด
พิพิธภัณฑสถานเมืองตราด

Trat Museum Trat Province

รายงานการสำรวจโบราณสถานในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๔ (ประเภทสะพาน คลอง ป้อม ท่าน้ำ สวนสาธารณะ)
รายงานการสำรวจโบราณสถานในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๔ (ประเภทสะพาน คลอง ป้อม ท่าน้ำ สวนสาธารณะ)
รายงานการสำรวจโบราณสถานในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๓ (ประเภทวัง ศาลเจ้า อนุสาวรีย์ อาคารร้านค้า)
รายงานการสำรวจโบราณสถานในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๓ (ประเภทวัง ศาลเจ้า อนุสาวรีย์ อาคารร้านค้า)
รายงานการสำรวจโบราณสถานในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒ (ประเภทศาสนสถาน)
รายงานการสำรวจโบราณสถานในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒  (ประเภทศาสนสถาน)
ทะเบียนโบราณวัตถุสถานทั่วราชอาณาจักร
ทะเบียนโบราณวัตถุสถานทั่วราชอาณาจักร

กรมศิลปากร จัดพิมพ์ พ.ศ.๒๕๑๖

ประวัติพัฒนาการของการตั้งถิ่นฐานบ้านเมือง แอ่งพื้นที่เชียงราย-เชียงแสน
ประวัติพัฒนาการของการตั้งถิ่นฐานบ้านเมือง แอ่งพื้นที่เชียงราย-เชียงแสน

 

หลักฐานของชุมชนบ้านเมืองในพื้นที่แอ่งเชียงราย-เชียงแสน นอกจากได้พบการกล่าวอ้างอิงถึงในเอกสารตำนานหรือพงศาวดารท้องถิ่น เฉพาะอย่างยิ่ง ระหว่างเรื่องราวของเมืองโยนกนาคพันธุ์ และเมืองหิรัญนครเงินยางนั้น ความชัดเจนของเมืองหิรัญนครเงินยาง ได้ปรากฏหลักฐานน้ำหนักความน่าเชื่อถือมากกว่าเมืองโยนกนาคพันธุ์ กรณีที่บรรพกษัตริย์ของเมือง/แคว้นนี้ได้สืบทอดเชื้อสายกันลงมาถึงพญามังราย รวมถึงกษัตริย์ล้านนาพระองค์อื่นๆในระยะหลัง เฉพาะระยะตั้งแต่พญามังรายผู้เป็นปฐมกษัตริย์แคว้นล้านนา เมื่อประมาณตอนต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ เป็นต้นมา พบหลักฐานด้านอื่นๆในสมัยของพระองค์ ทั้งด้านจารึก และเรื่องราวเหตุการณ์แวดล้อมจากเอกสารโบราณประเภทอื่นๆ รวมถึงหลักฐานด้านโบราณวัตถุสถานต่างๆ มาประกอบ ทำให้สามารถยืนยันถึงความเป็นผู้นำที่มีตัวตนในประวัติศาสตร์ของพระองค์ แต่การพิจารณาถึงถิ่นฐานบ้านเมืองแคว้นหิรัญนครเงินยางเดิมของพระองค์ ว่ามีลักษณะของสังคมวัฒนธรรมเป็นอย่างไรและตั้งอยู่ในพื้นที่แห่งใดของเขต แอ่งเชียงราย-เชียงแสนซึ่งปัจจุบันมีนักวิชาการสาขาต่างๆออกมาแสดงความเห็น ข้อวิเคราะห์ดังได้กล่าวถึงแล้วข้างต้นว่าก็คือเมืองเชียงแสนในปัจจุบันบ้าง เมืองหนึ่งเมืองใดในเขตลุ่มน้ำแม่กกที่ไม่ใช่เมืองเชียงแสนบ้างหรือเป็น เมืองโบราณที่เรียกกันในปัจจุบันว่าเวียงพางคาในเขตอาเภอแม่สายบ้างรวมไปถึง เรื่องระยะเวลาการเกิดขึ้นของเมืองนี้ว่าเริ่มต้นกันตั้งแต่เมื่อไรจะตรงกับ ระยะเวลาที่กล่าวถึงในเอกสารตำนานที่ว่าอยู่ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่๑๒หรือ ระยะเริ่มต้นจุลศักราช พ.ศ.๑๑๘๑ หรือไม่อีกทั้งมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับกลุ่มเมืองของแคว้นโยนกนาคพันธุ์เดิมอย่างไร ฯลฯ

 

ผู้เขียน: 
นายไกรสิน อุ่นใจจินต์ นักโบราณคดีชำนาญการพิเศษ
คำอธิบาย: 
(เอกสารประกอบการเสวนา) กำแพงเมืองเชียงแสน : ยุคสมัย รูปแบบ และแนวคิดการก่อสร้าง ณ โรงแรมเชียงแสนโกลเด้นแลนด์ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย วันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๕